Friday, 20 February 2015

9. 踊り字

お辞儀をしているウサギのイラスト

ก่อนอื่น ขอบคุณเพื่อนๆ พี่ๆ อาจารย์กนกวรรณ และ 柏さんมากนะคะ สำหรับคอมเม้น
ตอนนี้ตอบครบทุกคอมเม้นแล้วนะคะ
รู้สึกดีใจมากที่ข้อมูลในบล็อกได้รับความสนใจ และสามารถเป็นประโยชน์กับคนอื่นได้

ไม่มากก็น้อย 5555 


ในคาบล่าสุดอาจารย์ได้พูดถึงความสวยงาม อ่านง่ายของบล็อก

เลยกลับมาคิดดูว่าตอนนี้บล็อกของตัวเอง แต่งให้เพื่อนๆอ่านง่ายอยู่ไหม

ถ้าเพื่อนๆพี่ๆคนไหน อยากให้สีตัวอักษรเด่นกว่านี้ ไซส์ใหญ่กว่านี้ บอกได้เลยนะคะ
จะแก้ให้ทันทีค่า



เข้าเรื่องที่วันนี้จะพูดถึง
คือเรื่อง 踊り字 おどりじ 

โดยส่วนตัวเพิ่งเจอเป็นครั้งแรกเหมือนกัน5555

มาเรียนไปพร้อมๆกันนะคะ 
男性アイドルグループのイラスト
ข้างบนคือภาพในหัว ตอนเห็นคำนี้ 55555 เพื่อนๆเป็นเหมือนกันไหมค่ะ 5555



ข้างล่างคือของจริง




踊り字 :สัญลักษณ์พิเศษที่ใช้ในการแทนเสียงอ่านของภาษาญี่ปุ่น


บางทีก็เรียกว่า繰り返し符号(くりかえしふごう)、重ね字(かさねじ)、送り字(おくりじ)、
揺すり字(ゆすりじ)、重字(じゅうじ)、重点(じゅうてん)、畳字(じょうじ)ได้เช่นกัน



วันนี้จะขอเสนอ4ตัวดังนี้

1. 々(同の字点)



คือเครื่องหมายซ้ำ เขียนแสดงโดยใช้ 々 เป็นสัญลักษณ์ เพื่อแทนตัวคันจิ 
โดยตัวมันเองไม่มีเสียงอ่าน ต้องอ่านโดยซ้ำกับคันจิข้างหน้า 

วิธีการใช้ :วางเครื่องหมาย หลังคันจิที่ต้องการซ้ำ แทนที่คันจิตัวที่สอง 

ตัวอย่าง :

→ 時  บางครั้งบางคราว
→ 明  เข้าใจแจ่มแจ้ง
赤裸 → 赤裸 เรื่องโป๊เปลือย
複複線 → 複々々  ทางรถไฟหกราง
小小支川 → 小々々支川 ลำน้ำสาขาย่อยอันดับสาม
部分部分 → 部分々々 เป็นส่วน ๆ
後手後手 → 後手々々 ในท้ายที่สุด
馬鹿馬鹿しい → 馬鹿々々しいไร้สาระ, น่าขบขัน, โง่เง่า

**ที่น่าสนใจคือ ส่วนใหญมักเข้าใจว่า々ต้องเป็นตัวลงท้ายคำ และไม่สามารถใช้ติดกัน2ครั้งได้

แต่ในความจริงแล้ว々ไม่จำเป็นต้องเป็นตัวลงท้าย ใช้กลางคำได้เลย ,สามารถใช้ติดกันหลายตัวได้
และยังสามารถใช้แทนเป็นคู่ได้ด้วย 

ข้อควรระวัง :-แต่ใช่ว่าเมื่ออยากซ้ำคันจิตัวไหนจะสามารถใช้々ได้เลย ต้องดูความหมายด้วย

                   โดยมีหลักการว่าต้องเป็นคำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน
                   เช่น 公演会 สถานที่จัดงานแสดง + 場 สถานที่จัดงาน เป็น   公演会場 ได้
                   แต่ 会社บริษัท +社長 ประธานบริษัท เป็น  会社社長 ไม่เป็น 会社
                   -นอกจากนี้กรณีคันจิซ้ำกันสองตัวแต่อ่านไม่เหมือนกัน จะไม่ใช้ 
                   เช่น 湯湯婆  ขวดใส่น้ำร้อน
            
ข้อมูลเสริม  :คำว่า結婚式  สถานที่จัดงานแต่งงาน และ 告別式  สถานที่จัดงานศพ เพื่อ                          เลี่ยงการเขียน式2คร้ั้ง เพราะอาจมีความมายว่าแต่งงาน2ครั้ง หรืออาจมีคนตายอีกครั้ง                                              ใน2คำนี้จึงมักใช้々เขียนแทน
              



2. ゝ  ヽ(一の字点)

 
คือเครื่องหมายซ้ำ เขียนแสดงโดยใช้ และเป็นสัญลักษณ์ 
เพื่อแทนตัวคะตะคานะ และฮิรางานะ
โดยตัวมันเองไม่มีเสียงอ่าน ต้องอ่านโดยซ้ำกับตัวคะตะคานะหรือฮิรางานะข้างหน้า

วิธีการใช้ :ゝ วางไว้หลังฮิรางานะที่ต้องการจะซ้ำ
                วางไว้หลังคาตาคานะที่ต้องการจะซ้ำ
                  และ กรณีที่คาตาคานะหรือฮิรางานะตัวนั้นมีเท็นเท็นหรือมารุ
ตัวอย่าง :
→ こ ที่นี้
バナ → バナ กล้วย
学問のすめ → 学問のすめ ข้อแนะนำเกี่ยวกับการศึกษา
漬け → ぶ漬け ข้าวราดน้ำชา


3.〻(二の字点)


คือเครื่องหมายซ้ำ เขียนแสดงโดยใช้เป็นสัญลักษณ์ โดยไม่ได้ใช้แทนตัวคันจิตัวข้างหน้า 
แต่ใช้แทนเสียงอ่านซ้ำของเสียงคันจิตัวข้างหน้า 


วิธีการใช้ :ใช้ในการเขียนแนวตั้ง วางไว้หลังคันจิที่ต้องแสดงเสียงอ่านซ้ำ

ตัวอย่าง :

各 → 
           おのおの ทุก ๆ, แต่ละ 

屡 → 

          しばしば ทำแล้วทำอีก




4.〱(くの字点)




คือเครื่องหมายซ้ำ เขียนแสดงโดยใช้く เป็นสัญลักษณ์ ใช้เขียนตัวอักษรคาตาคานะ หรือฮิรางานะ 

หรือคันจิ ที่ซ้ำกันอย่างน้อยสองตัว 


วิธีการใช้ :ใช้ในการเขียนแนวตั้ง วางไว้หลังตัวอักษรที่ต้องการซ้ำ

     ใช้  ในกรณีที่คาตาคานะหรือฮิรางานะตัวนั้นมีเท็นเท็นหรือมารุ
                ถ้ามีการอ่านซ้ำสามครั้ง จะถูกใช้สองครั้ง 
                และถ้ามีการอ่านสี่ครั้ง จะถูกใช้ ที่เสียงอ่านครั้งที่สองกับครั้งที่สี่
ตัวอย่าง :



  •  → 


     ก็งั้น ๆ, เอาละๆ









    •  → 




        
      ทำไม ๆ




    •  → 


        อย่างนี้อย่างนั้น






    •  → 




        เสียงเคาะก๊อก ๆ










    •  → 






        แน่วแน่มั่นคง



    จบแล้วทั้งหมด4แบบค่าา 

    โดยส่วนตัวแล้วเคยใช้แค่々 เท่านั้นเอง5555 แต่เคยเห็นゝกับ〻 บ้างตามนิยาย
    แต่นึกว่าน่าจะเหมือน ー เลยไม่ได้สนใจ

    วันนี้ได้รู้แล้วครั้งต่อไปเจอจะได้อ่านได้โดยไม่เข้าใจผิดอีก5555 ʅ(´◔)ʃ 

    17 comments:

    1. เราเหมือนกัน เราเคยเห็นและใช้แค่々 ไม่รู้เลยว่ามีตัวอื่นด้วย เป็นความรู้ใหม่เลย^^

      ReplyDelete
      Replies
      1. แต่ตัวอื่นไม่คอยใช้แล้วแหละ555 เพราะไม่ค่อยมีเขียนแนวตั้งแล้ว โชคดีจัง 55555

        Delete
    2. This comment has been removed by the author.

      ReplyDelete
    3. ปกติรู้จักแค่々 เราไม่ค่อยอ่านนิยายไม่ค่อยเคยเห็นゝกับ〻เลยอะ แต่พวกสัญลักษณ์แบบนี้พิมพ์ยากจัง(นี่ก็ก๊อปแปะเอานะที่จริง) แบบในมือถือนี่พิมพ์ยังไง?(อยากรู้ซีเรียส)

      ReplyDelete
      Replies
      1. อืมมมม ในเน็ตเห็นมีโค้ดอยู่นะดูวุ่นวายมาก แต่เด่วนี้ไม่ค่อยมีคนใช้แล้วแหละตัวอื่น 5555

        Delete
    4. สุดยอดค่ะ เคยเห็นเหมือนกัน แล้วก็สงสัยว่ามันคืออะไร อ่านในนี้แล้วเข้าใจแจ่มแจ้งเลยย >.<

      ReplyDelete
    5. เป็นความรู้ใหม่เลย >_< ปกติเคยเห็นแต่ 々 เหมือนกัน
      ขอบคุณที่โพสต์มาให้อ่านนะ <3

      ReplyDelete
    6. เคยเจอแค่ตัวแรกกับตัวสุดท้าย สองตัวตรงกลางนี่ไม่เคยเห็นมาก่อน 5555 น่าสนใจดีจ้าา

      ReplyDelete
      Replies
      1. ขอบคุณมากค่า > <

        Delete
    7. รู้จักแค่ตัวเดียวคือ 々 นอกนั้นเคยเห็นมาบ้างแต่นึกว่าตัวอักษรโบราณอะไรรึเปล่าเลยมองข้ามมาตลอด ฮือออออ วันนี้เข้าใจแจ่มแจ้ง ขอบคุณสำหรับความรู้ใหม่ๆน้าา ^^ บล็อกน่ารักมากๆเลยยย <3<3

      ReplyDelete
    8. ตอนแรกรู้จักแค่ตัวแรกกับตัวที่สองค่า แต่ถ้าจะให้รู้แบบรู้การใช้งานจริงๆอยู่บ้างก็มีแค่ตัวแรก ได้ความรู้ดีมากๆๆๆๆเลยค่ะ ชอบรูปประกอบ 踊り字 ด้วย เพราะตอนแรกที่เห็นคำนี้ขึ้นมาในบล็อกก็คิดถึงภาพคนเต้นๆเหมือนกัน 55555

      ReplyDelete
      Replies
      1. จริงค่ะ5555 ตอนแรกแล้วนึกว่าเรื่องง่ายๆ ไม่ง่ายเลยนิหว่า 5555 มันเต้นตรงไหนฟร่ะะ 5555

        Delete
    9. บทความนี้ดีมากเลยยย
      แต่ละอันแบบไม่เคยเห็นเลย เค้าไปใช้กันที่ไหนหรอ5555 หรือแบบเป็นภาษาเก่า
      รู้จักอันเดียวจริงๆ คือ々555
      ส่วน ゝเคยเห็นตอนเขียนยี่ห้อรถอิซุซุ いすゞ คิดมาตลอดว่ามันคืออักษรโบราณของずรึเปล่าหว่า
      อ่อที่แท้มันคือตัวซ้ำ นอนตายตาหลับแล้ว ขอบคุณนะ555

      ReplyDelete